
เนื้อหา การเรียน การสอน ฟรีๆมากมาย เพื่อคนที่เรียนหนังสือ อ่านฟรี เนื้อหา วิชาเคมี วิชาสังคม วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาชีววิทยา และ หนังสือ ให้ อ่านฟรี
มุมแนะนำ
วันเสาร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2557
วิศวกรรมโลหการ
วิศวกรรมโลหการ
ชื่อเข้าอาเซียน : Metallurigical Engineering
เรียนเกี่ยวกับอะไร : เรียนเกี่ยวกับโลหะ เช่น การถลุง การปรับปรุงคุณสมบัติ โครงสร้างจุลภาค การขึ้นรูป การหล่อ การเชื่อม การอบชุบ การผุกร่อน เป็นต้น
เรียนเกี่ยวกับอะไร : เรียนเกี่ยวกับโลหะ เช่น การถลุง การปรับปรุงคุณสมบัติ โครงสร้างจุลภาค การขึ้นรูป การหล่อ การเชื่อม การอบชุบ การผุกร่อน เป็นต้น
ผู้เรียนควรมีคุณสมบัติใด : ควรมีความรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์ทั่วไปในเกณฑ์ดี มุ่งมั่น ขยัน คิดวิเคราะห์ได้ดี และชอบภาษาอังกฤษ
จุดเด่นของสาขาวิชา : เป็นสาขาวิชาขาดแคลน เปิดสอนเพียงไม่กี่แห่งในประเทศไทย การแข่งขันน้อย อัตราการได้งานทำสูง
เรียนจำนวน 193 หน่วยกิต
----//// สาขาวิชานี้อ้างอิงจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามสถาบัน ////----
----//// สาขาวิชานี้อ้างอิงจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามสถาบัน ////----
ขอขอบคุณสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีสำหรับข้อมูลครับ
****** ทางเว็บบล็อกอนุญาติให้นำบทความไปเผยแพร่ต่อได้ แต่ต้องอ้างอิงเว็บไซค์นี้ด้วย ลิขสิทธิ์เกิดขึ้นทันทีเมื่อมีการสร้างสรรค์งานขึ้น ใครผลิต สร้างขึ้นก่อน
ย่อมถือเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์คนแรก ผู้ใดจะนำงานชิ้นนั้นไปพิมพ์ซ้ำ
เผยแพร่ทุกรูปแบบไม่ได้ จนกว่าจะรับความยินยอมจากเจ้าของชิ้นงานก่อน******
วิศวกรรมอุสาหการ
วิศวกรรมอุตสาหการ
ชื่อเข้าอาเซียน : Industrial Engineering
เรียนเกี่ยวกับอะไร : เรียนเกี่ยวกับการวางแผนและคงบคุมการผลิตสินค้า การออกแบบ กระบวนการผลิต การออกแบบโรงงาน และวิธีการทำงาน
เรียนเกี่ยวกับอะไร : เรียนเกี่ยวกับการวางแผนและคงบคุมการผลิตสินค้า การออกแบบ กระบวนการผลิต การออกแบบโรงงาน และวิธีการทำงาน
ผู้เรียนควรมีคุณสมบัติใด : มีความถนัดทางด้านคณิตศาสตร์ สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี มีทักษาะการติดต่อสื่อสารที่ดี ชอบภาษาอังกฤษ
จบแล้วทำงานอะไร : จบแล้วสามารถทำงานเป็นวิศวกรโรงงาน นักวิจัย ข้าราชการในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม อาจาร์ย
เรียนจำนวน 189 หน่วยกิต
----//// สาขาวิชานี้อ้างอิงจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามสถาบัน ////----
----//// สาขาวิชานี้อ้างอิงจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามสถาบัน ////----
ขอขอบคุณสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีสำหรับข้อมูลครับ
****** ทางเว็บบล็อกอนุญาติให้นำบทความไปเผยแพร่ต่อได้ แต่ต้องอ้างอิงเว็บไซค์นี้ด้วย ลิขสิทธิ์เกิดขึ้นทันทีเมื่อมีการสร้างสรรค์งานขึ้น ใครผลิต สร้างขึ้นก่อน
ย่อมถือเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์คนแรก ผู้ใดจะนำงานชิ้นนั้นไปพิมพ์ซ้ำ
เผยแพร่ทุกรูปแบบไม่ได้ จนกว่าจะรับความยินยอมจากเจ้าของชิ้นงานก่อน******
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)