วัฒนธรรม คืออะไร
วัฒนธรรม คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์สร้างขึ้น
ลักษณะสำคัญของวัฒนธรรม
- เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
- เป็นสิ่งที่ได้จากกระบวนการขัดเกลาทางสังคม
- เปลี่ยนแปลงได้
ประเภทของวัฒนธรรม
1. วัตถุธรรม
– วัตถุที่มนุษย์คิดค้น
2. คติธรรม
– หลักการในการดาเนินชีวิตส่วนใหญ่เป็นเรื่องของจิตใจ
3. เนติธรรม
– เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับต่างๆ
4. สหธรรม
– ระเบียบหรือมารยาทที่บุคคลพึงปฏิบัติต่อกัน
โครงสร้างทางสังคม
โครงสร้างทางสังคม – การจัดระบบความสัมพันธ์ของคนในสังคม
องค์ประกอบที่สำคัญของโครงสร้างทางสังคม
คือ
1. กลุ่มทางสังคม
2. สถาบันทางสังคม
3. การจัดระเบียบทางสังคม
กลุ่มทางสังคม
กลุ่มทางสังคม - กลุ่มคนตั้งแต่ 2
คนขึ้นไปมารวมกัน มีความรู้สึกเป็นพวกพ้องกัน มีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ร่วมกัน
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. กลุ่มปฐมภูมิ
2. กลุ่มทุติยภูมิ
สถาบันทางสังคม
- แนวทางปฏิบัติอันมีระเบียบแบบแผน
ที่ทาให้สังคมเป็นระเบียบหรือกลุ่มของบรรทัดฐานที่ใช้เป็นหลักในการดาเนินกิจกรรมต่างๆของสมาชิกในสังคม
สถาบันทางสังคมที่สำคัญ มี 7
สถาบัน ดังนี้
1. สถาบันครอบครัว
2. สถาบันการศึกษา
3. สถาบันศาสนา
4. สถาบันเศรษฐกิจ
5. สถาบันการเมืองการปกครอง
6. สถาบันสื่อสารมวลชน
7. สถาบันนันทนาการ
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม – กระบวนการที่ควบคุมให้สมาชิกมีความสัมพันธ์ตามระเบียบแบบแผน
มีองค์ประกอบดังนี้
1. สถานภาพและบทบาท
2. บรรทัดฐาน
3. การควบคุมทางสังคม
4. ค่านิยม
5. การขัดเกลาทางสังคม
สถานภาพ = ตำแหน่งทางสังคม มี 2 ประเภท
คือ ติดตัวมาตั้งแต่เกิดได้มาภายหลัง / ได้มาด้วยความสามารถบทบาท =
การกระทาตามสถานภาพ
บรรทัดฐาน – มาตรฐานความประพฤติที่สังคมกำหนดเป็นแนวทางให้สมาชิกปฏิบัติ
มี 3 ประเภท คือ
1.
วิธีประชา
2.
จารีต
3.
กฎหมาย
ค่านิยม - แบบแผนที่คนในสังคมมองว่าดี
เหมาะสมเลยปฏิบัติตาม
การควบคุมทางสังคม -
วิธีการที่สังคมใช้ควบคุมพฤติกรรมของสมาชิก แบ่งเป็น
1.
การควบคุมแบบเป็นทางการ
2.
การควบคุมแบบไม่เป็นทางการ
การขัดเกลาทางสังคม - การถ่ายทอดแบบแผนพฤติกรรมให้สมาชิกปฏิบัติเป็นแนวเดียวกัน
แบ่งเป็น
1.
การขัดเกลาทางตรง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น