มุมแนะนำ

วันอาทิตย์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ปฏิกิริยาเคมี



ปฏิกิริยาเคมี
เกิดจาก สารเริ่มต้น เข้าทำปฏิกิริยากัน แล้วทำให้เกิดสารใหม่ เรียกว่า ผลิตภัณฑ์แบ่งเป็น
1.ปฏิกิริยาคายความร้อน  เป็นปฏิกิริยาที่จะให้พลังงานความร้อนออกมาทำให้สิ่งแวดล้อมร้อนหรือ
-   เมื่อมีการสร้างพันธะ (แก๊ส --—-> ของเหลว > ของแข็ง)
2.ปฏิกิริยาดูดความร้อน  เป็นปฏิกิริยาที่จะดูดพลังงานความร้อนเข้าไป ทำให้สิ่งแวดล้อมเย็น หรือ
-   เมื่อมีการสลายพันธะ (ของแริง ——> ของเหลว  > แก๊ส)
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
-   ปฏิกิริยาการเผาไหม้ของถ่านหิน จะมีกำมะถัน (S)เมื่อเผาไหม้กำมะถันจะทำปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจนทำให้เกิดแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์และเมื่อทำปฏิกิริยากับนํ้าฝน ทำให้เกิดกรดกำมะถัน/กรดซัลฟิวริก ตกลงมาเป็นฝนกรด
-   การเผาไหม้เชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ จะเกิดแก๊ส N02 กลายเป็นฝนกรดไนตริกได้
-   แก๊ส S03 N02 และ 03 ในวันที่มีความกดอากาศสูง จะลอยตํ่า เกิดเป็นหมอกควัน (smog)
-   ปฏิกิริยาการเกิดสนิมเหล็ก (Fe203) เกิดจาก ปฏิกิริ้ยาระหว่างเหล็กกับแก๊สออกซิเจน
-   ปฎิกิริยาการสลายตัวของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (ผงฟู) ด้วยความร้อนจะได้แก๊ส CO2 และ H20
-   สารไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ เมื่อได้ร้บแสงและความร้อน จะสลายตัว ดังนั้น จึงต้องเก็บไว้ในที่มืด
-   ปฏิกิริยาในแบตเตอรี่ชนิดต่างๆ เช่น แบตเตอรี่ในรถยนต์ เป็นปฏิกิริยาระหว่างแผ่นตะกั่ว
(Pb) แบตเตอรี่ปรอท มีขนาดเล็ก เบา ใช้ในเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์
-   ปฏิกิริยาการสลายตัวของหินปูน (CaCO3) ด้วยความร้อน ได้ปูนขาว (CaO) ใช้ในการผลิตปูนซีเมนต์
-   ปฎกิริยาระหว่างหินปูนกับกรดไนตริก/กรดซัลฟิวริก ทำให้สิ่งก่อสร้างสึกและเกิดหินงอกหินย้อย
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกริยาเคมี
1.   ความเข้มข้นของสารเริ่มต้น (เข้มข้นมาก > เข้มข้นน้อย)
2.   พื้นที่ผิวสัมผัสของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา (ผง > ก้อน)
3.   อุณหภูมิ (ร้อน > เย็น)
4.   ตัวเร่งปฏิกริยา คือ สารที่เติมเพิ่มเข้าไปแล้วทำให้ปฏิกิริยาเกิดได้เร็วขึ้น และเมื่อสิ้นสุดจะได้กลับคืน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

มุมแนะนำ