มุมแนะนำ

แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ วิศวะกรรมศาสตร์ แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ วิศวะกรรมศาสตร์ แสดงบทความทั้งหมด

วันพฤหัสบดีที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2557

ฟิสิกส์ : แสง,ทัศนอุปกรณ์,4สมบัติ

http://thebag101.blogspot.com/

(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

http://thebag101.blogspot.com/

ฟิสิกส์ : เสียง,สะท้อน,หักเห,แทรกสอด,เลี้ยวเบน




http://thebag101.blogspot.com/

(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

ฟิสิกส์ : คลื่น,สมบัติคลื่น,การหักเห,การแทรกสอด,คลื่นนิ่ง,การเลี้ยวเบน

http://thebag101.blogspot.com/

(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

http://thebag101.blogspot.com/

(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

http://thebag101.blogspot.com/

(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

http://thebag101.blogspot.com/

(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

http://thebag101.blogspot.com/

ฟิสิกส์ : การเคลื่อนที่แบบวงกลม,โมเมนต์ความเฉลี่ย

http://thebag101.blogspot.com/

(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

http://thebag101.blogspot.com/

ฟิสิกส์ : การเคลื่อนที่แบบ simple Harmonic,คาบ T ของ SHM แบบต่างๆ

http://thebag101.blogspot.com/
 (คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

http://thebag101.blogspot.com/

ฟิสิกส์ : การเคลื่อนที่แบบวงกลม,สมการการเคลื่อนที่แบบวงกลม,การแกว่งเป็นวงกลมในแนวดิ่ง

http://thebag101.blogspot.com/

(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

http://thebag101.blogspot.com/

ฟิสิกส์ : การเคลื่อนที่วิถีโค้ง,4 สูตรกรณีพิเศษ

http://thebag101.blogspot.com/

(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)
http://thebag101.blogspot.com/

ฟิสิกส์ : โมเมนตัม,การดล,การชน,การระเบิด,ความเร็วจุดศูนย์กลางมวลของระบบ

http://thebag101.blogspot.com/
(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

ฟิสิกส์ : งานและพลังงาน,กำลัง,พลังงานกล,กฏของพลังงาน,เครื่องกล

http://thebag101.blogspot.com/
(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

ฟิสิกส์ : ชนิดของสมดุล,สมดุลต่อการเลื่อนตำแหน่ง,สมดุลของแรง 2 แรง


http://thebag101.blogspot.com/
(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)
http://thebag101.blogspot.com/
(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)
http://thebag101.blogspot.com/
(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

http://thebag101.blogspot.com/

ฟิสิกส์ : กฏแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน

http://thebag101.blogspot.com/

(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

ฟิสิกส์ : การเคลื่อนที่แนวตรง,ค่าขณะใดขณะหนึ่งและค่าเฉลี่ย


http://thebag101.blogspot.com/
http://thebag101.blogspot.com/
(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

ฟิสิกส์ : การวัด,เลขนัยสำคัญ,ความไม่แน่นอนของการวัด


http://thebag101.blogspot.com/
(คลิ๊กรูปเพื่อขยาย)

วันเสาร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2557

วิศวกรรมโลหการ




วิศวกรรมโลหการ
ชื่อเข้าอาเซียน : Metallurigical Engineering
เรียนเกี่ยวกับอะไร : เรียนเกี่ยวกับโลหะ เช่น การถลุง การปรับปรุงคุณสมบัติ โครงสร้างจุลภาค การขึ้นรูป การหล่อ การเชื่อม การอบชุบ การผุกร่อน เป็นต้น

ผู้เรียนควรมีคุณสมบัติใด : ควรมีความรู้พื้นฐานวิทยาศาสตร์ทั่วไปในเกณฑ์ดี มุ่งมั่น ขยัน คิดวิเคราะห์ได้ดี และชอบภาษาอังกฤษ


จุดเด่นของสาขาวิชา : เป็นสาขาวิชาขาดแคลน เปิดสอนเพียงไม่กี่แห่งในประเทศไทย การแข่งขันน้อย อัตราการได้งานทำสูง

เรียนจำนวน 193 หน่วยกิต

----//// สาขาวิชานี้อ้างอิงจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามสถาบัน ////----


ขอขอบคุณสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีสำหรับข้อมูลครับ 

****** ทางเว็บบล็อกอนุญาติให้นำบทความไปเผยแพร่ต่อได้ แต่ต้องอ้างอิงเว็บไซค์นี้ด้วย ลิขสิทธิ์เกิดขึ้นทันทีเมื่อมีการสร้างสรรค์งานขึ้น ใครผลิต สร้างขึ้นก่อน ย่อมถือเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์คนแรก ผู้ใดจะนำงานชิ้นนั้นไปพิมพ์ซ้ำ เผยแพร่ทุกรูปแบบไม่ได้ จนกว่าจะรับความยินยอมจากเจ้าของชิ้นงานก่อน******

วิศวกรรมอุสาหการ



วิศวกรรมอุตสาหการ
ชื่อเข้าอาเซียน : Industrial Engineering
เรียนเกี่ยวกับอะไร : เรียนเกี่ยวกับการวางแผนและคงบคุมการผลิตสินค้า การออกแบบ กระบวนการผลิต การออกแบบโรงงาน และวิธีการทำงาน

ผู้เรียนควรมีคุณสมบัติใด : มีความถนัดทางด้านคณิตศาสตร์ สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี มีทักษาะการติดต่อสื่อสารที่ดี ชอบภาษาอังกฤษ

จบแล้วทำงานอะไร : จบแล้วสามารถทำงานเป็นวิศวกรโรงงาน นักวิจัย ข้าราชการในสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม อาจาร์ย

เรียนจำนวน 189 หน่วยกิต

----//// สาขาวิชานี้อ้างอิงจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามสถาบัน ////----

ขอขอบคุณสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีสำหรับข้อมูลครับ 

****** ทางเว็บบล็อกอนุญาติให้นำบทความไปเผยแพร่ต่อได้ แต่ต้องอ้างอิงเว็บไซค์นี้ด้วย ลิขสิทธิ์เกิดขึ้นทันทีเมื่อมีการสร้างสรรค์งานขึ้น ใครผลิต สร้างขึ้นก่อน ย่อมถือเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์คนแรก ผู้ใดจะนำงานชิ้นนั้นไปพิมพ์ซ้ำ เผยแพร่ทุกรูปแบบไม่ได้ จนกว่าจะรับความยินยอมจากเจ้าของชิ้นงานก่อน******

วิศวกรรมเคมี



วิศวกรรมเคมี
ชื่อเข้าอาเซียน : Chemical Engineering
          วิศวกรรมเคมีเป็นสาขาหนึ่งทางด้านวิศวะกรรมศาสตร์ ที่ศึกษาเกี่ยวกับ การออกแบบ วางแผน ควบคุม และพัฒนากระบวนการผลิตในระดับอุตสาหกรรม โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เคมี หรือชีวภาพ เพื่อเปลี่ยนวัตถุดิบให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นผ่านการทำงานร่วมกันของอุปกรณ์เฉพาะหน่วยต่างๆ โดยมุ่งเน้นให้เกิดการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าคำนึงถึงความปลอดภัยและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม


ความรู้ทางวิชาการที่ต้องใช้ : 
คณิตศาสตร์     50 %
ฟิสิกส์             30 %
เคมี                20 %
ภาษาอังกฤษ

อาชีพและงานที่วิศวกรเคมีทำได้ : วิศวกรควบคุมกระบวนการผลิต นักวิจัยและการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต งานวางแผน ออกแบบ ปรับปรุง และขยายกำลงัการผลิต งานที่ปรึกษาในโรงงานอุตสาหกรรม ง่านฝ่ายขาย การตลาด งานทางด้านสิ่งแวดล้อม


เรียนจำนวน 191 หน่วยกิต

----//// สาขาวิชานี้อ้างอิงจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามสถาบัน ////----

ขอขอบคุณสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีสำหรับข้อมูลครับ 

****** ทางเว็บบล็อกอนุญาติให้นำบทความไปเผยแพร่ต่อได้ แต่ต้องอ้างอิงเว็บไซค์นี้ด้วย ลิขสิทธิ์เกิดขึ้นทันทีเมื่อมีการสร้างสรรค์งานขึ้น ใครผลิต สร้างขึ้นก่อน ย่อมถือเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์คนแรก ผู้ใดจะนำงานชิ้นนั้นไปพิมพ์ซ้ำ เผยแพร่ทุกรูปแบบไม่ได้ จนกว่าจะรับความยินยอมจากเจ้าของชิ้นงานก่อน******

วิศวกรรมการผลิต


วิศวกรรมการผลิต
ชื่อเข้าอาเซียน : Manufacturing Engineering
เรียนเกี่ยวกับอะไร : ศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้าในระดับอุตสาหกรรม ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การออกแบบและวิเคราะห์ชิ้นส่วน กรรมวิธีและระบบการผลิตสมัยใหม่ หุ่นยนต์อุตสาหกรรม รวมไปถึงกิจกรรมอื่นๆ ที่เกิดขึ้นภายในโรงงานอุตสาหกรรม

ผู้เรียนควรมีคุณสมบัติใด : สนใจในงานภาคอุตสาหกรรม ชอบเรียนรู้เทคโนโลยีต่างๆ

จบแล้วทำงานอะไร : ทำงานได้หลากหลายตำแหน่งในภาคอุตสาหกรรม เช่น วิศวกรโรงงาน วิศวกรออกแบบการผลิต วิศวกรออกแบบเครื่องจักร วิศวกรออกแบบผลิตภัณฑ์ วิศวกรควบคุมการผลิต วิศวกรคุณภาพ รวมทั้งนักวิชาการหรือนักวิจัย

เรียนจำนวน 190 หน่วยกิต

----//// สาขาวิชานี้อ้างอิงจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามสถาบัน ////----

ขอขอบคุณสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีสำหรับข้อมูลครับ 

****** ทางเว็บบล็อกอนุญาติให้นำบทความไปเผยแพร่ต่อได้ แต่ต้องอ้างอิงเว็บไซค์นี้ด้วย ลิขสิทธิ์เกิดขึ้นทันทีเมื่อมีการสร้างสรรค์งานขึ้น ใครผลิต สร้างขึ้นก่อน ย่อมถือเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์คนแรก ผู้ใดจะนำงานชิ้นนั้นไปพิมพ์ซ้ำ เผยแพร่ทุกรูปแบบไม่ได้ จนกว่าจะรับความยินยอมจากเจ้าของชิ้นงานก่อน******

วิศวกรรมออกแบบผลิตภัณฑ์


วิศวกรรมออกแบบผลิตภัณฑ์
ชื่อเข้าอาเซียน : Production Design Engineering
เรียนเกี่ยวกับอะไร : ความรู้ทางด้านวิศวกรรมผสมผสานกับความสวยงามทางด้านศิลปะ เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่สร้างขึ้นได้จริงอย่างเหมาะสม

ผู้เรียนควรมีคุณสมบัติใด : ชอบศิลปะและสนใจเทคโนโลยีที่ทันสมัย

จบแล้วทำงานอะไร : ทำงานได้ทั้งวิศวกรและนักออกแบบ เช่น วิศวกรออกแบบผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ วิศวกรโรงงาน วิศวกรออกแบบเครื่องจักกล หรือสามารถเป็นนักวิชาการหรือนักวิจัยก็ได้

เรียนจำนวน 180 หน่วยกิต

----//// สาขาวิชานี้อ้างอิงจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามสถาบัน ////----

ขอขอบคุณสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีสำหรับข้อมูลครับ 

****** ทางเว็บบล็อกอนุญาติให้นำบทความไปเผยแพร่ต่อได้ แต่ต้องอ้างอิงเว็บไซค์นี้ด้วย ลิขสิทธิ์เกิดขึ้นทันทีเมื่อมีการสร้างสรรค์งานขึ้น ใครผลิต สร้างขึ้นก่อน ย่อมถือเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์คนแรก ผู้ใดจะนำงานชิ้นนั้นไปพิมพ์ซ้ำ เผยแพร่ทุกรูปแบบไม่ได้ จนกว่าจะรับความยินยอมจากเจ้าของชิ้นงานก่อน******

วิศวกรรมพอลิเมอร์


วิศวกรรมพอลิเมอร์
ชื่อเข้าอาเซียน : Polyner Engineering
เรียนเกี่ยวกับอะไร : การสังเคราะห์ สมบัติทดสอบพอลิเมอร์ พลาสติก ยาง เส้นใย สิ่งทอ กาว กระบวนการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ การออกแบบแม่พิมพ์ และหัวอัดรีด การคัดเลือกวัตถุในการออกแบบผลิตภัณฑ์

ผู้เรียนควรมีคุณสมบัติใด : มีความรู้พื้นฐานทางด้านฟิสิกส์ เคมี และคณิตศาสตร์

จบแล้วทำงานอะไร : สามารถประกอบอาชีพวิศวกรในสถานประกอบการ บริษัท/โรงงาน ด้านพอลิเมอร์ เช่น วิศวกรควบคุมการผลิต วิศวกรออกแบบแม่พิมพ์ วิศวกรประกันหรือควบคุมคุณภาพ วิศวกรฝ่ายขายด้านเทคนิค วิศวกรพัฒนาผลิตภัณฑ์ ฯลฯ ตัวอย่าง บริษัท/โรงงานอุตสาหกรรมพอลิเมอร์ เช่น
       โรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์/อิเล็อกทรอนิกส์
       โรงงานผลิตชิ้นส่วนพลาสติกวิศวกรรมแบบต่างๆ
       โรงงานผลิตเม็ดพลาสติกพอลิเมอร์ หรือรีไซเคิลพอลิเมอร์
       โรงงานผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก เช่น ถุง ขวด กล่อง ฯลฯ
       โรงงานผลิตสี กาว วัสดุเคลือบผิว และเส้นใยสิ่งทอ
หน่วยงานการศึกษาและวิจัยทางวัสดุศาสตร์ของรัฐบาล เช่น มหาวิทยาลัย ศูนย์โลหะและวัสดุแห่งชาติ และอื่นๆ
เรียนจำนวน 182 หน่วยกิต

----//// สาขาวิชานี้อ้างอิงจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามสถาบัน ////----

ขอขอบคุณสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีสำหรับข้อมูลครับ 

****** ทางเว็บบล็อกอนุญาติให้นำบทความไปเผยแพร่ต่อได้ แต่ต้องอ้างอิงเว็บไซค์นี้ด้วย ลิขสิทธิ์เกิดขึ้นทันทีเมื่อมีการสร้างสรรค์งานขึ้น ใครผลิต สร้างขึ้นก่อน ย่อมถือเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์คนแรก ผู้ใดจะนำงานชิ้นนั้นไปพิมพ์ซ้ำ เผยแพร่ทุกรูปแบบไม่ได้ จนกว่าจะรับความยินยอมจากเจ้าของชิ้นงานก่อน******

วิศวกรรมเซรามิก


วิศวกรรมเซรามิก    ****** เปิดสอนแห่งเดียวในประเทศไทย ที่ มทส. *******
ชื่อเข้าอาเซียน : Ceramic Engineering
เรียนเกี่ยวกับอะไร : เรียนคุณภาพของวัตถุดิบ และ กระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมเซรามิก การวางแผนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ การควบคุมคุณภาพ และมาตรฐาน

ผู้เรียนควรมีคุณสมบัติใด : มีความรู้พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เคมอินทรีย์ ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

จบแล้วทำงานอะไร : งานภาคอุตสาหกรรม เป็นวิศวกรในโณงงานผลิตภัณฑ์เซรามิกต่างๆ ได้แก่ โรงงานผลิตประเบื้องเซรามิก สุขภัณฑ์ ภ้วยชาม แก้ว กระจก ปูนซีเมนต์ ยิปซั่ม ลูกถ้วยไฟฟ้า ฯลฯ หน่วยงานของรัฐ เป็นวิศวกรหรือเจ้าหน้าที่วิจัย ประจำหน่วยงาน/ศูนย์/สถาบันวิจัย ทางด้านวัสดุและมหาวิทยาลัยต่างๆ ศึกษาต่อระดับปริญญาโทและเอก

เรียนจำนวน 185 หน่วยกิต

----//// สาขาวิชานี้อ้างอิงจาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งอาจแตกต่างกันไปตามสถาบัน ////----

ขอขอบคุณสำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีสำหรับข้อมูลครับ 

****** ทางเว็บบล็อกอนุญาติให้นำบทความไปเผยแพร่ต่อได้ แต่ต้องอ้างอิงเว็บไซค์นี้ด้วย ลิขสิทธิ์เกิดขึ้นทันทีเมื่อมีการสร้างสรรค์งานขึ้น ใครผลิต สร้างขึ้นก่อน ย่อมถือเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์คนแรก ผู้ใดจะนำงานชิ้นนั้นไปพิมพ์ซ้ำ เผยแพร่ทุกรูปแบบไม่ได้ จนกว่าจะรับความยินยอมจากเจ้าของชิ้นงานก่อน******

มุมแนะนำ